แอฟริกาใต้
ประกาศเมื่อ 3 ก.ค.64 ขึ้นทะเบียนรับรองการใช้งานวัคซีน Sinovac เป็นกรณีฉุกเฉิน เพื่อเร่งฉีดวัคซีนให้ประชาชน
ประกาศเมื่อ 3 ก.ค.64 ขึ้นทะเบียนรับรองการใช้งานวัคซีน Sinovac เป็นกรณีฉุกเฉิน เพื่อเร่งฉีดวัคซีนให้ประชาชน
ระบุเมื่อ 3 ก.ค.64 จัดตั้งจุดตรวจมากกว่า 400 แห่งที่เกาะชวาและเกาะบาหลี ตามมาตรการควบคุมทางสังคมระดับสูงสุด
ประกาศเมื่อ 2 ก.ค.64 จะจัดสรรวัคซีน Moderna จำนวน 4 ล้านโดสให้กับอินโดนีเซียผ่านโครงการ COVAX
ระบุเมื่อ 3 ก.ค.64 ว่า ผลการทดสอบทางคลินิกระยะที่ 3 ของวัคซีน Covaxin ซึ่งพัฒนาจากเชื้อตายโดยบริษัท Bharat Biotech มีประสิทธิภาพป้องกันอาการป่วยรุนแรงได้ร้อยละ 93.4
ระบุเมื่อ 2 ก.ค.64 ว่า ผลการศึกษาพบว่า เชื้อ COVID-19 สายพันธุ์เอปซีลอน ซึ่งพบครั้งแรกในรัฐแคลิฟอร์เนีย มีผลทำให้ประสิทธิภาพของวัคซีนเทคโนโลยี mRNA ลดลงโดยเฉลี่ย 2.5-3 เท่า
ระบุเมื่อ 1 ก.ค.64 ยังไม่ขึ้นบัญชีเชื้อ COVID-19 สายพันธุ์เดลตาพลัส เป็นไวรัสสายพันธุ์น่ากังวล เนื่องจากมีการแพร่ระบาดในวงจำกัด และมีผู้ติดเชื้อจำนวนน้อย
ระบุเมื่อ 2 ก.ค.64 ได้รับวัคซีน Sinopharm จากจีนเพิ่มอีก 1 ล้านโดส ทำให้ศรีลังกาได้รับวัคซีน Sinopharm จากจีน รวมทั้งหมด 4.1 ล้านโดส
แถลงเมื่อ 1 ก.ค.64 มีแผนทดลองฉีดวัคซีน COVID-19 ของ บ.Sinovac เป็นวัคซีนเข็ม 2 ให้กับผู้ที่แพ้วัคซีนเทคโนโลยีชนิด mRNA ในเข็มแรก
ประกาศเมื่อ 2 ก.ค.64 จะใช้แผน 4 ระยะเป็นกรอบในการนำออสเตรเลียกลับสู่วิถีชีวิตปกติก่อนที่มีการระบาดของโรค COVID-19 โดยแต่ละระยะอ้างอิงตามเป้าหมายจำนวนประชาชนที่ได้รับวัคซีน
สำนักข่าว Reuters รายงานเมื่อ 29 มิ.ย.64 ว่า คณะกรรมการด้านงบประมาณของสมัชชาสหประชาชาติ (United Nations General Assembly-UNGA) ที่มีสมาชิก 193 ประเทศ ตกลงจะสนับสนุนงบประมาณ 6,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สำหรับปฏิบัติการรักษาสันติภาพ 12 ภารกิจ จนถึง 30 มิ.ย.65 ซึ่งภารกิจส่วนใหญ่อยู่ในภูมิภาคแอฟริกาและตะวันออกกลาง โดย UNGA จะลงมติรับรองอย่างเป็นทางการใน 30 มิ.ย.64 อย่างไรก็ดี จนท.ระดับสูงของ UN ระบุว่า ได้รับคำแนะนำให้เตรียมการจัดทำแผนรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีที่งบประมาณใหม่ไม่ผ่านการลงมติใน 30 มิ.ย.64 อนึ่ง สหรัฐฯ เป็นประเทศผู้บริจาครายใหญ่ที่สุดในภารกิจรักษาสันติภาพ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 28 รองมาคือจีนร้อยละ 15.2 และญี่ปุ่นร้อยละ 8.5