อินเดีย
ระบุเมื่อ 15 มี.ค.65 จะเริ่มฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มแรกให้เด็กอายุ 12-14 ปี และเข็มกระตุ้นให้ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป โดยไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ที่มีโรคประจำตัว ใน 16 มี.ค.65
ระบุเมื่อ 15 มี.ค.65 จะเริ่มฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มแรกให้เด็กอายุ 12-14 ปี และเข็มกระตุ้นให้ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป โดยไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ที่มีโรคประจำตัว ใน 16 มี.ค.65
ระบุเมื่อ 14 มี.ค.65 จนท.ICRC ไม่สามารถเดินทางไปเยี่ยมเรือนจำในเมียนมาตั้งแต่ปลายปี 2562 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19
ระบุเมื่อ 14 มี.ค.65 เตรียมรณรงค์ให้ความรู้ในการรักษาสุขภาพ และการฉีดวัคซีนป้องกัน COVID-19 ทั่วประเทศ ใน 22 มี.ค.65 เนื่องจากเห็นว่าการฉีดวัคซีนมีความสำคัญที่สุดในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19
ระบุเมื่อ 14 มี.ค.65 ตรวจพบผู้ติดเชื้อ COVID-19 รายใหม่ 18,853 ราย ซึ่งเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นวันที่ 10 หลังจากยกเลิกมาตรการควบคุมโรคทั้งหมด
ก่อนหน้านี้ช่วงที่เริ่มมีข่าวเชิงลบเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2565 นั้น ค่าเงินอีกหนึ่งสกุลที่ได้รับประโยชน์โดยตรง จากการที่นักลงทุนต่างชาติจำนวนมากขนย้ายเงินออกจากตลาดสหรัฐฯ และเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ คือ เงินบาทของไทย อีกทั้งตลาดหุ้นไทยนั้นยังมีหุ้นกลุ่มมูลค่า (value stock) อยู่หลายตัว ทำให้เม็ดเงินจากต่างประเทศไหลเข้าหาไทยโดยตรงตลอดเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ดังจะเห็นได้จากกราฟแท่งเทียนมูลค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐที่จับคู่สัมพันธ์กับเงินบาท (USDTHB) นั้นมีการปรับตัวดิ่งลงอย่างรุนแรงตลอดทั้งเดือน จากที่อยู่ในจุดสูงสุดเกือบ 33.7 บาท ในเดือนมกราคม 2565 ก็ร่วงลงมาจนเกือบหลุด 32 บาท ต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ (ถือเป็นช่วงที่ค่าเงินบาทแข็งมากที่สุดในรอบ 6 เดือน) แต่เมื่อสถานการณ์ความตื่นตระหนกในตลาดเริ่มทุเลาลงในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2565 เงินจึงเริ่มไหลกลับเข้าสู่ตลาดของคู่เงินดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้เงินบาทกลับเข้าสู่สถานะอ่อนตัวลง และค่อย ๆ รีบาวด์กลับขึ้นมาแตะแนวต้านบริเวณราคาเดิมที่ 33.165 บาท ต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐแล้วในต้นเดือนมีนาคม 2565 จากมุมมองทางเทคนิคัล ปัจจุบันกราฟแสดงมูลค่าของเงินบาทนั้นกำลังอยู่ในช่วงอ่อนตัวลงจากการรีบาวด์ โดยสามารถผ่านแนวต้านเส้นสีฟ้า (ตามภาพที่ 1) ซึ่งเป็นแนวต้านสำคัญแนวแรกสำหรับการจะส่งเงินบาทกลับเข้าสู่ตลาดขาลงแล้ว โดยหากค่าเงินบาทสามารถคงความอ่อนตัวด้วยการยืนเหนือโซน 33.165 บาทและรักษาฐานอยู่บริเวณดังกล่าวได้ ในช่วงสัปดาห์ที่…
สถานการณ์รัสเซียและยูเครน ทำให้หลายๆ คนกลัวกันว่า “ไต้หวันในวันพรุ่งนี้ จะเป็นอย่างยูเครนวันนี้” เพราะทั้งสองกำลังเผชิญชะตากรรมแบบเดียวกัน โดยต้องเผชิญหน้ากับประเทศขนาดใหญ่อย่างจีนกับรัสเซีย แต่รู้มั้ยว่า ที่จริงแล้วสถานการณ์ของยูเครนและไต้หวันมีจุดแตกต่างกันอยู่มาก!! วันนี้ขอหยิบยกความต่างใน 4 ประเด็นที่เห็นได้ชัด มาเล่าก่อนนะ ประการแรก เทคโนโลยีทางการทหารและภูมิศาสตร์ ยูเครนมีไม้เด็ดสำคัญคือ กองกำลังป้องกันตนเอง (Civilian Defense Force) นอกเหนือจากกองทัพยูเครนแล้ว ชาวยูเครนส่วนใหญ่ยังมีทักษะทางทหารและการใช้อาวุธเบื้องต้น โดยเฉพาะในช่วงปลายปี 2564 ที่สถานการณ์รัสเซีย-ยูเครนตึงเครียดสุดๆ ชาวยูเครนร่วมฝึกซ้อมการใช้ Man-portable air defence systems & anti-tank weapons ซึ่งเป็นอาวุธป้องกันการโจมตีทางอากาศจากภาคพื้นดิน น้ำหนักประมาณ 20 กิโลกรัม ยาว 180 เซนติเมตร (จำลองภาพผู้ชายใส่ชุดทหารพาดปืนใหญ่บนไหล่ แล้วเล็งไปบนฟ้า) และยูเครนมีพรมแดนเชื่อมต่อกับรัสเซียทางบก ทำให้ถูกบุกยึดได้ง่าย ส่วนไต้หวันนั้น มีหน่วยงานทหารเพียงหน่วยเดียวที่รับผิดชอบด้านการป้องปราม ขณะที่ชาวไต้หวันยังไม่คุ้นมือกับการฝึกรบมากนักเมื่อเทียบกับชาวยูเครน แต่ไต้หวันมีช่องแคบไต้หวันเป็นพรมแดนป้องปรามตามธรรมชาติ หากจีนบุกยึดไต้หวันการเคลื่อนกำลังพลของจีนเป็นไปได้ยาก และจะต้องทำสงครามสะเทินน้ำสะเทินบกเท่านั้น ทำให้ไม่สามารถบุกยึดไต้หวันอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะทำให้ไต้หวันใช้จังหวะนี้ร้องขอความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ ได้ทันการณ์ ประการที่สอง การทำโฆษณาชวนเชื่อ…
สำนักข่าว Reuters รายงานเมื่อ 13 มี.ค.65 ว่า สหราชอาณาจักรประกาศแผน Homes for Ukraine หรือบ้านเพื่อชาวยูเครนที่ต้องการลี้ภัยมายังสหราชอาณาจักร แม้จะไม่มีครอบครัวหรือญาติอาศัยอยู่ก่อน โดยรัฐบาลจะสนับสนุนค่าใช้จ่ายมูลค่า 350 ปอนด์สเตอริง/เดือน (ประมาณ 15,230 บาท) ให้กับครัวเรือนที่สามารถให้ที่พักพิงแก่ผู้ลี้ภัยเป็นเวลาอย่างน้อย 6 เดือน ซึ่งผู้ที่จะให้ที่พักพิงจะต้องแสดงหลักฐานยืนยันว่าที่พักได้ตามมาตรฐานและผ่านการตรวจสอบประวัติอาชญากรรม ทั้งนี้ สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) ประเมินว่ามีจำนวนผู้ลี้ภัยจากยูเครนแล้วอย่างน้อย 4 ล้านคน
กระทรวงการต่างประเทศของอินเดีย ออกแถลงการณ์เมื่อ 13 มี.ค.65 ว่า จะย้ายที่ทำการสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเคียฟ ไปที่โปแลนด์เป็นการชั่วคราว เนื่องจากสถานการณ์ในยูเครนรุนแรงขึ้น โดยมีการโจมตีพื้นที่ทางตะวันตกของยูเครนต่อเนื่อง ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศของอินเดียจะติดตามและประเมินสถานการณ์เพิ่มเติมเป็นระยะ
นาย Jens Stoltenberg เลขาธิการองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) ระบุเมื่อ 13 มี.ค.65 ว่า รัสเซียอาจหยิบยกประเด็นห้องปฏิบัติการอาวุธชีวภาพในยูเครนเป็นข้ออ้างใช้อาวุธเคมีโจมตียูเครน ซึ่งจะถือเป็นการก่ออาชญากรรมทางสงคราม นอกจากนี้ NATO เน้นย้ำการปฏิเสธข้อเรียกร้องของยูเครนในการประกาศเขตห้ามบิน เนื่องจากกังวลว่าจะทำให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างประเทศตะวันตกกับรัสเซียโดยตรง ซึ่งจะส่งผลให้สถานการณ์ตึงเครียดและรุนแรงขึ้นจนไม่สามารถควบคุมได้ ขณะที่ประธานาธิบดี Andrzej Duda ของโปแลนด์ ระบุว่า NATO อาจแทรกแซงทางทหารในยูเครนหากรัสเซียใช้อาวุธเคมี
ระบุเมื่อ 14 มี.ค.65 ยังไม่มีแผนจะยกระดับมาตรการควบคุมโรค COVID-19 เข้มงวดขึ้น แม้มีผู้เสียชีวิตจากโรค COVID-19 เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง