มาเลเซีย
ระบุเมื่อ 15 ม.ค.65 ประชาชนฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มแรกแล้ว 23,181,492 คน หรือร้อยละ 99 ของประชากรวัยผู้ใหญ่ ในจำนวนนี้มีผู้ฉีดวัคซีนครบโดสแล้ว 22,901,050 คน หรือร้อยละ 97.8
ระบุเมื่อ 15 ม.ค.65 ประชาชนฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มแรกแล้ว 23,181,492 คน หรือร้อยละ 99 ของประชากรวัยผู้ใหญ่ ในจำนวนนี้มีผู้ฉีดวัคซีนครบโดสแล้ว 22,901,050 คน หรือร้อยละ 97.8
ระบุเมื่อ 15 ม.ค.65 ฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มแรกให้เด็กอายุ 5-11 ปีแล้วมากกว่า 100,000 ราย หรือร้อยละ 40 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาทั้งหมด ทั้งนี้ สิงคโปร์เริ่มฉีดวัคซีนให้เด็กช่วงอายุดังกล่าวเมื่อ 27 ธ.ค.64
ระบุเมื่อ 14 ม.ค.65 ตรวจพบผู้ติดเชื้อ COVID-19 รายใหม่ 92,223 ราย สูงที่สุดตั้งแต่เกิดการแพร่ระบาดของโรค COVID-19
ระบุเมื่อ 14 ม.ค.65 ศาลปกครองมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว ยกเว้นข้อกำหนดให้แสดงเอกสารรับรองการฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 สำหรับผู้ใช้บริการห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านค้า ที่มีพื้นที่มากกว่า 3,000 ตร.ม. รวมทั้งการเข้าใช้บริการสถานที่ทุกประเภทของเยาวชนในกรุงโซล
ระบุเมื่อ 14 ม.ค.65 วิจัยพบเชื้อ COVID-19 สายพันธุ์โอมิครอน รุนแรงน้อยกว่าเชื้อสายพันธุ์เดลตา แม้ผู้ติดเชื้อจะเป็นผู้ที่ยังไม่ได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 และไม่เคยติดเชื้อ COVID-19 มาก่อน
ระบุเมื่อ 14 ม.ค.65 ตรวจพบผู้ติดเชื้อ COVID-19 รายใหม่ 126 ราย ในจำนวนนี้เป็นผู้ติดเชื้อสายพันธุ์โอมิครอน 3 ราย ทั้งนี้ เมียนมามีผู้ติดเชื้อ COVID-19 สะสม 532,851 ราย เป็นผู้ติดเชื้อสายพันธุ์โอมิครอน 66ราย และเสียชีวิต 19,299 ราย
ระบุเมื่อ 14 ม.ค.65 จะผ่อนปรนมาตรการ Lockdown บางส่วน ใน 15 ม.ค.65 โดยจะอนุญาตให้ร้านค้า ร้านทำผม ยิม และมหาวิทยาลัย และผู้ค้าประเวณี เปิดทำการได้
ระบุเมื่อ 14 ม.ค.65 ผ่อนปรนมาตรการควบคุมโรค COVID-19 โดยอนุญาตให้ประชาชนรวมกลุ่มไม่เกิน 6 คน เพิ่มขึ้นจาก 4 คน แต่ยังคงกำหนดให้ร้านอาหารและร้านกาแฟให้บริการได้ถึงเวลา 21.00 น. โดยมีผลบังคับใช้ถึง 6 ก.พ.65
ระบุเมื่อ 14 ม.ค.65 ฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มแรก ให้เยาวชนอายุ 15-18 ปี แล้วมากกว่า 31.4 ล้านคน หรือร้อยละ 42 ของประชากรช่วงอายุดังกล่าวทั้งประเทศ โดยอินเดียตั้งเป้าฉีดวัคซีนให้ครอบคลุมร้อยละ 80-85 ของกลุ่มเยาวชนช่วงอายุ 15-17 ปี ซึ่งมีประมาณ 74 ล้านคน ภายใน 31 ม.ค.65
ระบุเมื่อ 13 ม.ค.65 สถาบันการแพทย์ 3 แห่ง ร่วมสนับสนุนโครงการวิจัยเพื่อทดสอบประสิทธิภาพการใช้วัคซีนป้องกันโรค COVID-19 ที่ไม่ใช่วัคซีน mRNA เป็นวัคซีนเข็มกระตุ้น เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับวัคซีน mRNA ชนิดเดียวกันทั้งสามเข็ม โดยคาดว่าจะสรุปผลการวิจัยได้ใน เม.ย.66