อินโดนีเซีย
ระบุเมื่อ 8 พ.ย.64 อยู่ระหว่างพิจารณาอนุมัติใช้ยาโมลนูพิราเวียร์ (Molnupiravir) ซึ่งเป็นยารักษาโรค COVID-19 ชนิดรับประทาน ของบริษัท Merck ของสหรัฐฯ และอาจจัดซื้อยาดังกล่าว 1 ล้านเม็ดใน ธ.ค.64
ระบุเมื่อ 8 พ.ย.64 อยู่ระหว่างพิจารณาอนุมัติใช้ยาโมลนูพิราเวียร์ (Molnupiravir) ซึ่งเป็นยารักษาโรค COVID-19 ชนิดรับประทาน ของบริษัท Merck ของสหรัฐฯ และอาจจัดซื้อยาดังกล่าว 1 ล้านเม็ดใน ธ.ค.64
ระบุเมื่อ 8 พ.ย.64 คาดว่า จะสามารถเปิดพรมแดนทางบกระหว่างฮ่องกงกับจีนเต็มรูปแบบให้เดินทางเข้า-ออกได้โดยไม่ต้องกักตัวภายใน มิ.ย.65
บรรลุข้อตกลงกับมาเลเซียเมื่อ 8 พ.ย.64 ในการเปิดการเดินทางทางอากาศในช่องทางพิเศษชนิด Vaccinated Travel Lane (VTL) ระหว่างกันใน 29 พ.ย.64 ทำให้ผู้เดินทางที่ฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 จะได้รับการยกเว้นการกักตัว
ระบุเมื่อ 8 พ.ย.64 ลงนามสัญญาจัดซื้อยา Paxlovid ซึ่งเป็นยารักษาโรค COVID-19 ชนิดรับประทานของบริษัท Pfizer จำนวน 70,000 ชุด
ระบุเมื่อ 8 พ.ย.64 มีแผนจะเริ่มฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มกระตุ้นให้ประชาชน เมื่อประชาชนฉีดวัคซีนครบโดสแล้วอย่างน้อยร้อยละ 50 ปัจจุบัน อินโดนีเซียฉีดวัคซีนให้ประชาชนครบโดสแล้วร้อยละ 29 หรือประมาณ 78.3 ล้านคน จากประชากรทั้งหมด 270 ล้านคน
ระบุเมื่อ 7 พ.ย.64 ฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มกระตุ้นให้ประชาชนแล้ว 10,062,704 ราย และจะเร่งฉีดให้มากขึ้นโดยเปิดระบบให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าไปจองฉีดวัคซีนได้หลังจากฉีดวัคซีนครบโดสแล้ว 5 เดือน เพื่อฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นเมื่อครบ 6 เดือน (จองล่วงหน้า 1 เดือน)
ระบุเมื่อ 7 พ.ย.64 เพิ่มรายชื่อประเทศในบัญชีแดง (Red List) ได้แก่ ซานมารีโน ไซปรัส นอร์เวย์ โปแลนด์ เยอรมนี และสวิตเซอร์แลนด์ ทำให้ผู้ที่เดินทางมาจากประเทศดังกล่าวต้องตรวจหาเชื้อ COVID-19 และกักตัวเมื่อเดินทางถึงเอสโตเนีย
ระบุเมื่อ 7 พ.ย.64 ฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 ให้ประชาชนแล้ว 24,552,038 ราย หรือร้อยละ 75.2 ของประชากรทั้งประเทศ
ระบุเมื่อ 6 พ.ย.64 อยู่ระหว่างพิจารณาถอดยูเครนออกจากบัญชีประเทศที่มีความปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 (ประเทศที่ตรวจพบผู้ติดเชื้อน้อย) เนื่องจากยูเครนตรวจพบผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
ระบุเมื่อ 6 พ.ย.64 วัคซีนป้องกันโรค COVID-19 ของบริษัท Sinovac มีความปลอดภัยสำหรับใช้ในบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป