ญี่ปุ่น
ระบุเมื่อ 2 ก.ย.64 พบนักกีฬาเทนนิสพาราลิมปิก 1 ราย ติดเชื้อโรค COVID-19 ซึ่งเป็นรายแรกของการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกที่โตเกียวที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ระบุเมื่อ 2 ก.ย.64 พบนักกีฬาเทนนิสพาราลิมปิก 1 ราย ติดเชื้อโรค COVID-19 ซึ่งเป็นรายแรกของการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกที่โตเกียวที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ระบุเมื่อ 1 ก.ย.64 ยังไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มที่ 3 ให้กับผู้ที่ได้รับวัคซีนครบโดส เนื่องจากวัคซีนที่อนุมัติใช้ใน EU มีประสิทธิภาพสูงในการลดอัตราการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล อาการป่วยรุนแรง รวมถึงการเสียชีวิต และควรจัดสรรวัคซีนที่จะใช้เป็นเข็มที่ 3 ให้กับผู้ที่ฉีดวัคซีนไม่ครบโดสก่อน
ระบุเมื่อ 1 ก.ย.64 รัฐดูไบจะเริ่มฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 เข็มที่ 3 โดยจะฉีดวัคซีน Pfizer-BioNTech ให้กับประชาชนและชาวต่างชาติที่พำนักในรัฐดูไบ อายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไปและเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีประวัติรักษาที่โรงพยาบาลใน UAE แต่ต้องได้รับคำปรึกษาจากแพทย์ก่อน
ระบุเมื่อ 1 ก.ย.64 ฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 ของบริษัท Johnson & Johnson ให้กับผู้เข้าบำบัดรักษายาเสพติดมากกว่า 1,000 คน ในศูนย์บำบัดและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในนครหลวงเวียงจันทน์
ระบุเมื่อ 1 ก.ย.64 เริ่มฉีดวัคซีนโรค COVID-19 ในผู้ที่อายุ 17 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นไปตามแผนการฉีดวัคซีนของรัฐบาล หลังมีผู้เสียชีวิตเกินกว่า 100 รายเป็นวันที่สองติดต่อกัน
ระบุเมื่อ 1 ก.ย.64 หยุดให้บริการขนส่งสิ่งของไปรษณีย์ในรัฐนิวเซาท์เวลส์ รัฐวิกตอเรีย และออสเตรเลียนแคพิทอลเทร์ริทอรีเป็นเวลา 4 วัน (4-7 ก.ย.64) เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ COVID-19 ทั้งนี้ มี จนท.ไปรษณีย์ต้องกักบริเวณแล้วกว่า 500 ราย
ระบุเมื่อ 31 ส.ค.64 ตรวจพบผู้ติดเชื้อ COVID-19 แม้ฉีดวัคซีนครบโดสแล้ว โดยพบในผู้ที่ฉีดวัคซีนของบริษัท Johnson & Johnson มากที่สุดในอัตราร้อยละ 0.113 รองลงมาคือ วัคซีนของบริษัท AstraZeneca ร้อยละ 0.068 และวัคซีนของบริษัท Pfizer ร้อยละ 0.021
ระบุเมื่อ 31 ส.ค.64 ได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 ครบ 2 โดสให้กับประชากรวัยผู้ใหญ่ร้อยละ 70 ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ และอยู่ระหว่างพิจารณาความเป็นไปได้ในการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ภายในปี 2564
ระบุเมื่อ 31 ส.ค.64 ขยายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดโรค COVID-19 ทั่วประเทศอีก 15 วัน (ห้วง 1-15 ก.ย.64)
ระบุเมื่อ 31 ส.ค.64 ขอให้ประชาชนเปลี่ยนการติดตั้งแอปพลิเคชันในการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์โรค COVID-19 จาก Indonesia Health Alert Card (eHAC) ที่พัฒนาโดย สธ.อินโดนีเซียเป็น PeduliLindungi ซึ่งพัฒนาโดยกระทรวงการสื่อสารและข้อมูลของอินโดนีเซีย เนื่องจากสงสัยว่า eHAC มีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล