ผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาล SAC ในเมียนมาเสียชีวิตจากการสลายการชุมนุมเพิ่มอีก 2 คน
สถานการณ์ประท้วงต่อต้านรัฐบาลทหารในเมียนมายังคงรุนแรง
สถานการณ์ประท้วงต่อต้านรัฐบาลทหารในเมียนมายังคงรุนแรง
ประธานาธิบดีโจเซฟ ไบเดน ของสหรัฐฯ ซึ่งรับตำแหน่งเมื่อ 20 ม.ค.64 เร่งสร้างผลงานในช่วง 100 วันแรกภายหลังก้าวสู่ตำแหน่งอย่างต่อเนื่อง
องค์การพัฒนาเอกชนในต่างประเทศเฝ้าติดตามเสรีภาพของประชาชน และวัดระดับความเป็นประชาธิปไตยของทุกประเทศทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในอินเดียที่เป็นประเทศประชาธิปไตยขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
นานาประเทศยังคงห่วงกังวลการใช้ความรุนแรงเพื่อปราบปรามผู้ชุมนุมประท้วงต่อต้านการรัฐประหารในเมียนมา
การรัฐประหารในเมียนมาเมื่อ 1 ก.พ.64 ส่งผลให้เจ้าหน้าที่รัฐบาลเมียนมาที่ไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหารหลบหนีออกจากประเทศ และรัฐบาลทหารเมียนมาเริ่มส่งสัญญาณไปยังประเทศเพื่อนบ้านให้ส่งตัวเจ้าหน้าที่หลบหนีเหล่านั้นกลับเมียนมา
ประเด็นความมั่นคงในคาบสมุทรเกาหลี โดยเฉพาะประเด็นการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ ยังคงเป็นประเด็นสำคัญที่น่าติดตาม
รัฐบาลทหารของเมียนมาที่ทำรัฐประหารเมื่อ 1 ก.พ.64 ยังคงไม่สามารถกระชับอำนาจการบริหารราชการแผ่นดินได้เบ็ดเสร็จ
อินเดียและปากีสถานเป็นประเทศคู่ขัดแย้งกันมายาวนาน ทั้งสองฝ่ายมีการสู้รบกันบริเวณชายแดนบ่อยครั้ง แม้จะมีข้อตกลงหยุดยิงระหว่างกันตั้งแต่ปี 2546 อย่างไรก็ตาม เว็บไซต์ Hindustan Times ของอินเดียได้รายงาน
หลังจากเกิดเหตุยิงจรวดโจมตีฐานทัพสหรัฐฯ ในเมืองเออร์บิล ของอิรักเมื่อ 15 ก.พ.64 โดยมีข่าวว่าอิหร่านเป็นผู้สนับสนุนการโจมตี หนังสือพิมพ์วอลสตรีทเจอร์นัลรายงานเมื่อ 25 ก.พ.64
ท่ามกลางการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ส่งผลให้บริษัทผู้ผลิตยาต่างเร่งพัฒนาวัคซีนให้มีประสิทธิภาพ และเร่งผลิตวัคซีนเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง